รู้หรือไม่! โรคนอนไม่หลับ ในวัยทอง อันตรายกว่าที่คิด ส่งผลเสียต่อสุขภาพระยะยาว

โรคนอนไม่หลับ เกิดจากหลายสาเหตุ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

1. โรคนอนไม่หลับ สาเหตุทางกายภาพ

  • โรคประจำตัว เช่น โรคหอบหืด โรคกรดไหลย้อน โรคข้ออักเสบ โรคไต โรคต่อมไทรอยด์ โรคทางระบบประสาท
  • ยาบางชนิด ยาขับปัสสาวะ ยาสเตียรอยด์ ยาลดความดันโลหิต ยาแก้ปวด ยาคลายกังวล
  • การดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน แอลกอฮอล์ ก่อนนอน
  • การสูบบุหรี่
  • การนอนหลับกลางวันนาน
  • สิ่งแวดล้อมการนอนที่ไม่เหมาะสม เช่น เสียงดัง แสงสว่าง อุณหภูมิไม่สบายตัว
  • การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น ในวัยทอง
  • การตั้งครรภ์
  • ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ

2. โรคนอนไม่หลับ สาเหตุทางจิตใจ

  • ความเครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า
  • ความกดดัน
  • ปัญหาทางอารมณ์
  • การนอนไม่เป็นเวลา
  • นิสัยการนอนที่ไม่ดี
  • ภาวะซึมเศร้า
  • โรควิตกกังวล
  • โรคไบโพลาร์

ป้องกัน “โรคนอนไม่หลับ” วัยทอง

  • ปรับพฤติกรรมการนอน : เข้านอน ตื่นนอน เป็นเวลา สร้างบรรยากาศการนอนที่ดี ผ่อนคลายก่อนนอน
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอ : ช่วยให้นอนหลับง่าย หลับสนิท
  • **เลี่ยงการดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
  • เลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่
  • จัดการความเครียด : ฝึกสมาธิ โยคะ
  •  อาหารเสริมที่เหมาะสมสำหรับ วัยทองเพศชาย :  ดีเน่ แอนโดรพลัส (DNAe Andro plus) ทานหลังมื้ออาหารเย็น 1 แคปซูล ช่วยบำรุงสมอง ช่วยเพิ่มความจำ ทำให้หลับสบาย ตื่นเช้ามาแล้วสดชื่น 
  • อาหารเสริมที่เหมาะสมสำหรับ วัยทองเพศหญิง : ดีเน่ ฟลาโวพลัส (DNAe Flavoplus) ทานหลังมื้ออาหารเย็น 1 แคปซูล ช่วยลดความเครียด คลายกังวล หลับสบาย หลับลึกยิ่งขึ้น 
  • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ : เลือกทานอาหารที่ช่วยให้นอนหลับง่าย เช่น กล้วย นมอุ่นๆ ช่วยให้หลับสบายยิ่งขึ้น

โรคนอนไม่หลับ ไม่ใช่แค่เรื่อง “วัยทอง” หนุ่มสาวก็เป็นได้!

สาเหตุของ “โรคนอนไม่หลับ” ในวัยหนุ่มสาว

  1. ความเครียด
  • สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากการเรียน การทำงาน ปัญหาส่วนตัว
  1. พฤติกรรมการนอนที่ไม่ดี
  • เช่น นอนดึก ตื่นนอนไม่เป็นเวลา นอนกลางวันนาน
  1. การใช้โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต ก่อนนอน
  • แสงสีฟ้าจากอุปกรณ์เหล่านี้ รบกวนการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนิน ทำให้ยากต่อการนอนหลับ
  1. การดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน แอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ก่อนนอน
  • สารเหล่านี้กระตุ้นระบบประสาท ทำให้นอนหลับยาก หากทำเป็นประจำส่งผลต่ออาการเกิด โรคนอนไม่หลับ
  1. โรคประจำตัว
  • เช่น โรคหอบหืด โรคกรดไหลย้อน โรคข้ออักเสบ โรคไต โรคต่อมไทรอยด์ โรคทางระบบประสาท
  1. ยาบางชนิด
  • ยาขับปัสสาวะ ยาสเตียรอยด์ ยาลดความดันโลหิต ยาแก้ปวด ยาคลายกังวล อาจส่งผลทำให้นอนไม่หลับ
  1. ภาวะทางจิต
  •  เช่น ความวิตกกังวล ซึมเศร้า 

ผลเสียของ “โรคนอนไม่หลับ” ในวัยหนุ่มสาว

  1. ส่งผลต่อการเรียน การทำงาน
  • ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง ขาดสมาธิ
  1. ส่งผลต่อสุขภาพกาย
  • อ่อนเพลีย ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
  1. ส่งผลต่อสุขภาพจิต
  • เช่น เกิดอาการ หงุดหงิด , ซึมเศร้า
  1. ส่งผลต่อความสัมพันธ์รอบข้าง
  • อาการนอนไม่หลับ อาจทำให้เกิดอาการ หงุดหงิด  ทะเลาะวิวาทกับคนรอบข้าง

การป้องกัน “โรคนอนไม่หลับ” ในวัยหนุ่มสาว

  1. ปรับพฤติกรรมการนอน
  •  เข้านอน ตื่นนอน เป็นเวลา สร้างบรรยากาศการนอนที่ดี ผ่อนคลายก่อนนอน หลีกเลี่ยงการดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน แอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ก่อนนอน
  1. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
  • ช่วยให้นอนหลับง่าย หลับสนิท แต่ไม่ควรออกกำลังกายใกล้เวลานอน
  1. จัดการความเครียด
  • ฝึกสมาธิ โยคะ
  1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
  • เลือกทานอาหารที่ช่วยให้นอนหลับง่าย เช่น กล้วย นมอุ่นๆ
  1. ทานอาหารเสริมช่วยให้หลับสบาย 
  • อาหารเสริมที่มีสารสกัดจาก แปะก๊วย ช่วยเพิ่มการไหลเวียนโลหิตไปยังสมอง แก้อาการ “โรคนอนไม่หลับ” เนื่องจากมีสารที่ ช่วยขยายหลอดเลือด เพิ่มการไหลเวียนโลหิต สมองได้รับออกซิเจนเพียงพอ ช่วยให้นอนหลับง่ายขึ้น หลับสนิทขึ้น ลดอาการ ลดความเครียดและวิตกกังวล แปะก๊วย มีสารที่ช่วยลดความเครียด วิตกกังวล สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดนอนไม่หลับ

วัยทอง กับ โรคนอนไม่หลับ ภัยร้ายคุกคามสุขภาพ เสี่ยงโรคร้ายเรื้อรัง ห้ามมองข้าม!

ผู้หญิงวัยทองกว่า 70% ประสบกับปัญหา “โรคนอนไม่หลับ”

อันตรายจาก “โรคนอนไม่หลับ” ในวัยทอง

  • สมองเสื่อมเร็ว : โรคนอนไม่หลับ ส่งผลต่อการนอนไม่เพียงพอ และส่งผลต่อการทำงานของสมอง เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคอัลไซเมอร์ ภาวะสมองเสื่อม
  • โรคหัวใจ : การนอนหลับน้อย เพิ่มความดันโลหิต คอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ส่งผลต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด
  • โรคเบาหวาน : การนอนหลับไม่เพียงพอ ส่งผลต่อระบบเผาผลาญ เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
  • ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ : โรคนอนไม่หลับ นอนหลับน้อย ส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน ร่างกายอ่อนแอ ป่วยง่าย
  • อารมณ์แปรปรวน : การนอนหลับไม่เพียงพอ ส่งผลต่ออารมณ์ หงุดหงิด วิตกกังวล ซึมเศร้า
  • กระดูกพรุน : การนอนหลับน้อย ส่งผลต่อการหลั่งฮอร์โมน  เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน

ป้องกัน “โรคนอนไม่หลับ” ในวัยทอง

  • สำหรับวัยทองผู้หญิง : ทาน ดีเน่ ฟลาโวพลัส (DNAe Flavoplus) เพื่อบรรเทาอาการวัยทอง และเสริมการนอนหลับ ช่วยให้หลับลึก หลับสบายตื่นเช้ามาสดชื่น
  • สำหรับวัยทองผู้ชาย : ทาน ดีเน่ แอนโดรพลัส (DNAe Andro plus) เพื่อเสริมสุขภาพ และแก้ปัญหานอนไม่หลับในวัยทอง บำรุงสมอง ลดความเครียด 
  • ปรับพฤติกรรมการนอน : เข้านอน ตื่นนอน เป็นเวลา สร้างบรรยากาศการนอนที่ดี ผ่อนคลายก่อนนอน
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอ : ช่วยให้นอนหลับง่าย หลับสนิท

**เลี่ยงการดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ โยคะ

  • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ : เลือกทานอาหารที่ช่วยให้นอนหลับง่าย เช่น นมอุ่นๆ ชาคาโมมายล์ น้ำขิง ก่อนนอน ช่วยให้หลับสบาย ลดอาการเกิด โรคนอนไม่หลับ

โรคนอนไม่หลับ กินอะไรดี? ช่วยให้หลับสบายทั้งคืน ห่างไกลอาการ วัยทอง 

“โรคนอนไม่หลับ” ในวัยทองเกิดจาก?

  • การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศหญิง
  • อาการวัยทอง เหงื่อออกตอนกลางคืน ร้อนวูบวาบ
  • ความเครียด
  • พฤติกรรมการนอนที่ไม่ดี
  • โรคประจำตัว
  • ยาบางชนิด

อาหารที่ช่วยให้นอนหลับสบาย ลดอาการเกิด โรคนอนไม่หลับ

  1. กล้วย
  • กล้วยมีโพแทสเซียม แมกนีเซียม และทริปโตเฟน สารเหล่านี้ ช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนิน ทำให้หลับสบายขึ้น
  1. กีวี
  • กีวีมีวิตามินซี แมกนีเซียม และโพแทสเซียม ช่วยให้นอนหลับง่ายขึ้น และหลับสนิทตลอดคืน
  1. ธัญพืชไม่ขัดสี
  • ธัญพืชไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ข้าวโอ๊ต ขนมปังโฮลวีต อุดมไปด้วยแมกนีเซียม ช่วยให้นอนหลับสบาย แก้อาการ โรคนอนไม่หลับ ลดความเครียด และคลายกังวล
  1. ปลาแซลมอน
  • ปลาแซลมอนมีโอเมก้า 3 กรดไขมันดี ช่วยลดความเครียด และกระตุ้นการหลั่งเซโรโทนิน ฮอร์โมนแห่งความสุข ช่วยให้นอนหลับดีขึ้น

เครื่องดื่มที่ช่วยให้นอนหลับสบาย ลดอาการเกิด โรคนอนไม่หลับ

  1. ชาคาโมมายล์
  • ชาคาโมมายล์ มีสรรพคุณช่วยผ่อนคลาย คลายกังวล ลดความเครียด ทำให้หลับสบายขึ้น
  1. น้ำขิง
  • น้ำขิง ช่วยย่อยอาหาร บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ซึ่งอาจรบกวนการนอนหลับ
  1. น้ำผึ้งผสมมะนาว
  • น้ำผึ้ง มีสรรพคุณช่วยให้นอนหลับ ส่วนมะนาวมีวิตามินซี ช่วยลดความเครียด
  1. นมอัลมอนด์
  • นมอัลมอนด์ ไม่มีแลคโตส อุดมไปด้วยแคลเซียม แมกนีเซียม ช่วยให้นอนหลับสบาย ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมวัยทอง แก้อาการ โรคนอนไม่หลับ

  • สำหรับผู้หญิง ดีเน่ ฟลาโวพลัส (DNAe Flavoplus)
  • สำหรับผู้ชาย ดีเน่ แอนโดรพลัส (DNAe Andro plus)

มีสารสกัดจากแปะก๊วย และสมุนไพรอื่น ๆ ที่ช่วยลดอาการวัยทอง และปัญหานอนไม่หลับ ทานหลังมื้ออาหารเย็น 1 แคปซูล ช่วยให้นอนหลับสบาย 

สมุนไพรวัยทอง ช่วยแก้อาการ โรคนอนไม่หลับ ในวัย 40+

เมื่อเข้าสู่วัย 40+ อาการที่พบบ่อย นอนไม่หลับ หลับยาก หลับไม่สบาย ส่งผลระยาวทำให้เกิด โรคนอนไม่หลับ เป็นปัญหาที่พบได้บ่อย 

สมุนไพร บรรเทาอาการวัยทอง แก้อาการ โรคนอนไม่หลับ 

  1. แปะก๊วย
    • ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือดในสมอง เสริมสร้างความจำ และลดความวิตกกังวล ทำให้การนอนหลับดีขึ้น
  2. ตังกุย
    • ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมน ลดอาการร้อนวูบวาบ และบรรเทาความเครียด ส่งผลให้นอนหลับได้สบายขึ้น
  3. แครนเบอร์รี่
    • มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างสุขภาพทั่วไปและปรับสมดุลฮอร์โมน
  4. งาดำ
    • อุดมไปด้วยแคลเซียมและแมกนีเซียม ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อและระบบประสาท ทำให้นอนหลับได้ลึกขึ้น

สมุนไพรข้างต้น มีในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ดีเน่ ฟลาโวพลัส (DNAe Flavoplus) สำหรับผู้หญิง และ ดีเน่ แอนโดรพลัส (DNAe Andro plus) สำหรับผู้ชาย จะช่วยบรรเทาอาการนอนไม่หลับ เหมาะสำหรับวัย 40+ ที่มีอาการ โรคนอนไม่หลับ ช่วยปรับสมดุลร่างกายในวัยทอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรเทาอาการวัยทองแปลกๆที่พบบ่อย ลดอาการร้อนวูบวาบ เหงื่อออกตอนกลางคืน