วัยทองอาการที่พบบ่อยทั้งหญิง และชาย
- อาการที่พบบ่อยในวัยทองได้แก่ ร้อนวูบวาบ เหงื่อออกกลางคืน นอนไม่หลับ อารมณ์แปรปรวน และความรู้สึกเหนื่อยล้า การดูแลสุขภาพด้วย อาหารวัยทอง และโภชนาการที่เหมาะสม จะช่วยบรรเทาอาการเหล่านี้ลดลงได้
แนะนำ 5 “อาหารวัยทอง” สำหรับวัย 40+
- ปลาแซลมอนย่าง
- มีกรดไขมันโอเมก้า-3 ช่วยบำรุงหัวใจ และสมอง
- สลัดผักโขม และควินัว
- ผักโขม และควินัวให้แมกนีเซียม และไฟเบอร์ ช่วยลดความเครียด และบำรุงระบบย่อยอาหาร
- โยเกิร์ตกับเบอร์รี่
- มีโปรไบโอติกส์ และสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยบำรุงระบบทางเดินอาหาร และผิวพรรณ
- ซุปฟักทอง
- ฟักทองมีเบต้าแคโรทีน ช่วยบำรุงสายตา และผิวพรรณ
- ชาเขียว
- มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดการอักเสบ และปรับสมดุลฮอร์โมน
อาหารเสริม ลดอาการวัยทอง ดีเน่ ฟลาโวพลัส ตัวช่วยที่วัย 40+ ต้องมีติดบ้าน
- ดีเน่ ฟลาโวพลัส เป็นอาหารเสริม ที่มีส่วนผสมจากสมุนไพรธรรมชาติ เช่น ตังกุย แปะก๊วย และงาดำ ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมน ลดอาการร้อนวูบวาบ และบำรุงร่างกายให้แข็งแรง ทานอาหารเสริมควบคู่กับการเลือกทาน อาหารวัยทอง ที่มีประโยชน์ จะช่วยให้คุณสามารถรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงในวัย 40+ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความสุข
3 เมนู อาหารวัยทอง บำรุงฟื้นฟูร่างกายให้แข็งแรง ชะลอวัยต้านแก่ ทำง่ายได้ประโยชน์
เมนู อาหารวัยทอง ชะลอวัยต้านแก่ ทำง่ายได้ที่บ้าน อาหารที่ดีต่อสุขภาพ ในวัยทองไม่จำเป็นต้องยุ่งยาก
แนะนำ 3 เมนูที่ทำง่าย และช่วยชะลอวัยต้านแก่
- สลัดผักโขมกับควินัว และบลูเบอร์รี่
- ส่วนผสม : ผักโขมสด, ควินัวต้มสุก, บลูเบอร์รี่, ถั่วอัลมอนด์สไลด์, น้ำมันมะกอก, น้ำมะนาว, เกลือ และพริกไทย
- วิธีทำ : ผสมผักโขม, ควินัว, บลูเบอร์รี่ และถั่วอัลมอนด์ในชามใหญ่ ราดน้ำมันมะกอก และน้ำมะนาว ปรุงรสด้วยเกลือ และพริกไทย คลุกเคล้าให้เข้ากัน พร้อมเสิร์ฟ
- ปลาแซลมอนย่างกับหน่อไม้ฝรั่ง
- ส่วนผสม : ปลาแซลมอน, หน่อไม้ฝรั่ง, น้ำมันมะกอก, กระเทียมสับ, เกลือ และพริกไทย
- วิธีทำ : ทาน้ำมันมะกอกบนแซลมอน และหน่อไม้ฝรั่ง โรยเกลือ พริกไทย และกระเทียมสับ ย่างในเตาอบที่อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส ประมาณ 15-20 นาที หรือจนกว่าแซลมอนจะสุก เสิร์ฟพร้อมหน่อไม้ฝรั่ง
- สมูทตี้โยเกิร์ตกับเบอร์รี่
- ส่วนผสม : โยเกิร์ตธรรมชาติ, บลูเบอร์รี่, สตรอว์เบอร์รี่, กล้วยหอม, น้ำผึ้ง (ถ้าต้องการเพิ่มความหวาน)
- วิธีทำ : ใส่โยเกิร์ต, บลูเบอร์รี่, สตรอว์เบอร์รี่ และกล้วยหอมในเครื่องปั่น ปั่นจนเนียน เทลงแก้ว และเติมน้ำผึ้งตามชอบ พร้อมเสิร์ฟ
แนะนำ อาหารวัยทอง ลดอาการร้อนวูบวาบ
อาการร้อนวูบวาบ เป็นอาการที่พบบ่อยในวัยทอง การเลือกทานอาหารที่เหมาะสม สามารถช่วยบรรเทาอาการได้ เช่น
- ถั่วเหลือง : มีไฟโตเอสโตรเจน ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมน
- เมล็ดแฟลกซ์ : อุดมด้วยโอเมก้า-3 และไฟโตเอสโตรเจน
- ชาเขียว : มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดการอักเสบ
- โยเกิร์ต : มีโปรไบโอติกส์ ช่วยบำรุงระบบทางเดินอาหาร
คำแนะนำสำหรับวัยทอง อาหารวัยทอง ที่ควรหลีกเลี่ยง!
5 อาหารวัยทอง ที่ควรเลี่ยง ยิ่งทานยิ่งแก่เร็ว ส่งผลต่อสุขภาพระยะยาว!
- น้ำตาล และขนมหวาน
- น้ำตาลสูงส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดไม่คงที่ และกระตุ้นการผลิตอินซูลินมากเกินไป ทำให้เกิดการอักเสบ และเร่งกระบวนการชรา ถือว่าเป็นอาหารวัยทองที่ควรหลีกเลี่ยง
- อาหารทอด และมันเยิ้ม
- น้ำมัน และไขมันทรานส์ในอาหารทอด ทำให้ระดับคอเลสเตอรอลเพิ่มขึ้น เกิดการอักเสบในร่างกาย และเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
- การดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไปทำลายเซลล์ตับ ลดความสามารถในการขับสารพิษ และทำให้ผิวแห้งกร้าน
- ขนมขบเคี้ยว และอาหารแปรรูป
- อาหารแปรรูปมีสารกันบูด และสารเติมแต่งที่ทำลายสารต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย ทำให้เซลล์เสื่อมสภาพเร็วขึ้น
- น้ำอัดลม และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
- น้ำอัดลม และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ และแร่ธาตุ ทำให้ผิวแห้ง และเหี่ยวย่น
ผลไม้วัยทองต้องเลี่ยง! ลดอาการวัยทอง
บางผลไม้มีน้ำตาลสูง และอาจกระตุ้นอาการวัยทอง เช่น
- ลิ้นจี่ : มีน้ำตาลสูง อาจทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดพุ่งสูง
- องุ่น : อุดมด้วยน้ำตาลธรรมชาติที่มากเกินไป
5 กลุ่ม “อาหารวัยทอง” ลดอาการอารมณ์แปรปรวน
- ผักใบเขียว
- เช่น ผักโขม และคะน้า อุดมด้วยแมกนีเซียม และวิตามินบีที่ช่วยลดความเครียด
- ถั่ว และเมล็ดพืช
- เช่น อัลมอนด์ และเมล็ดแฟลกซ์ มีไขมันดี และโปรตีนที่ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมน
- ปลาแซลมอน
- อุดมด้วยโอเมก้า-3 ที่ช่วยบำรุงสมอง และลดการอักเสบ
- โยเกิร์ต
- มีโปรไบโอติกส์ที่ช่วยบำรุงระบบทางเดินอาหาร และเพิ่มภูมิคุ้มกัน
- ชาเขียว
- มีสารต้านอนุมูลอิสระ ที่ช่วยลดการอักเสบ และปรับสมดุลฮอร์โมน
3 เมนูยอดฮิต!! อาหารวัยทอง เพื่อการปรับสมดุลฮอร์โมน ทำง่ายได้ประโยชน์
แนะนำ 3 เมนู “อาหารวัยทอง” เพื่อการปรับสมดุลฮอร์โมน
- สลัดถั่วเหลืองกับผักโขม และแซลมอนย่าง อาหารวัยทองที่ทำงายประโยชน์เยอะ
ส่วนผสม :
- ถั่วเหลืองต้มสุก
- ผักโขมสด
- แซลมอนย่าง
- อะโวคาโด
- เมล็ดแฟลกซ์
- น้ำมันมะกอก
- น้ำมะนาว
- เกลือและพริกไทย
วิธีทำ :
- ย่างแซลมอนจนสุก
- ผสมถั่วเหลืองต้ม ผักโขมสด และอะโวคาโดในชามใหญ่
- ใส่แซลมอนย่างลงในชามสลัด
- โรยเมล็ดแฟลกซ์
- ราดน้ำมันมะกอก และน้ำมะนาว ปรุงรสด้วยเกลือ และพริกไทย
- คลุกเคล้าให้เข้ากัน พร้อมเสิร์ฟ
2. เพิ่มรสชาติและสีสันให้อาหารวัยทองด้วย โยเกิร์ตกับเบอร์รี่ และถั่วอัลมอนด์
ส่วนผสม :
- โยเกิร์ตธรรมชาติ
- บลูเบอร์รี่
- สตรอว์เบอร์รี่
- ราสเบอร์รี่
- ถั่วอัลมอนด์สับ
- น้ำผึ้ง (ถ้าต้องการเพิ่มความหวาน)
วิธีทำ :
- ใส่โยเกิร์ตลงในชาม
- ใส่เบอร์รี่ต่างๆ ลงบนโยเกิร์ต
- โรยถั่วอัลมอนด์สับ
- ราดน้ำผึ้งตามชอบ พร้อมเสิร์ฟ
3. ซุปฟักทองกับขิง และกระเทียม
ส่วนผสม :
- ฟักทองหั่นเป็นชิ้น
- ขิงสับ
- กระเทียมสับ
- น้ำมันมะกอก
- น้ำซุปผัก
- เกลือและพริกไทย
วิธีทำ :
- ผัดขิง และกระเทียมในน้ำมันมะกอกจนหอม
- ใส่ฟักทองลงไปผัดต่อจนเริ่มนุ่ม
- เติมน้ำซุปผัก และต้มจนฟักทองสุกนุ่ม
- ปั่นซุปจนเนียนละเอียด
- ปรุงรสด้วยเกลือ และพริกไทย
- เสิร์ฟซุปร้อนๆ พร้อมขนมปังโฮลวีท
3 เมนู อาหารวัยทอง เหล่านี้ทำง่ายได้ที่บ้าน มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และหากใครมองว่าไม่สะดวกทำอาหารวัยทอง ตัวช่วยดีๆเพียงทานอาหารเสริมวัยทอง ดีเน่ ฟลาโวพลัส (DNAe Flavoplus) สำหรับวัยทองผู้หญิง และ ดีเน่ แอนโดรพลัส (DNAe Andro plus) สำหรับวัยทองผู้ชาย ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมน ลดอาการวัยทองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น ใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข
สมุนไพรวัยทอง ตัวช่วยลดอาการไม่พึงประสงค์ จากธรรมชาติ บำรุงฟื้นฟูร่างกาย ให้คุณกลับมามีสุขภาพดีอีกครั้ง!
สมุนไพรธรรมชาติ ที่ช่วยบรรเทาอาการวัยทองได้จริง!
- โสมเกาหลี : เพิ่มพลังงาน ลดความเครียด
- กระชายดำ : บำรุงสมรรถภาพทางเพศ เสริมระบบประสาท
- แปะก๊วย : เพิ่มความจำ ลดอาการนอนไม่หลับ
- งาดำ : บำรุงกระดูก และผิวพรรณ อุดมด้วยแคลเซียม และโอเมก้า-3
- ถั่วเหลืองนำเข้าจากประเทศสเปน : มีไฟโตเอสโตรเจน ช่วยปรับสมดุลฮอร์โมน
- ตังกุย : บำรุงเลือด ปรับสมดุลฮอร์โมน
- Organic แครนเบอร์รี่ : สารต้านอนุมูลอิสระสูง เพิ่มภูมิคุ้มกัน ลดการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
สมุนไพรวัยทองดังกล่าว มีอยู่ในอาหารเสริม ดีเน่ ฟลาโวพลัส (DNAe Flavoplus) สำหรับวัยทองผู้หญิง และ ดีเน่ แอนโดรพลัส (DNAe Andro plus) สำหรับวัยทองผู้ชาย
วิธีรับประทานให้ได้ผล
- อาการมาก : เริ่มทานวันละ 2 แคปซูล เมื่ออาการดีขึ้น สามารถปรับลดเป็นวันละ 1 แคปซูล
- ทานเพื่อบำรุง : วันละ 1 แคปซูลหลังอาหารมื้อที่สะดวก
- เน้นเรื่องการนอน : แนะนำทานหลังอาหารเย็น
- ผู้ที่ไวต่อโสม และ เน้นความสดชื่น : แนะนำทานหลังอาหารเช้า
แนะนำวิธีใช้ “สมุนไพรวัยทอง” อย่างถูกต้อง และปลอดภัย
การใช้สมุนไพรในการบรรเทาอาการวัยทอง ควรทำอย่างถูกวิธี และปลอดภัย ดังนี้
- ปรึกษาแพทย์ หรือเภสัชกร
: ก่อนเริ่มใช้สมุนไพร ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เพื่อประเมินความเหมาะสม
- เลือกผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ
: ควรเลือกสมุนไพรที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน และปราศจากสารเจือปน - ปฏิบัติตามคำแนะนำ
: อ่าน และปฏิบัติตามคำแนะนำ การใช้บนฉลากอย่างเคร่งครัด
- ไม่ใช้เกินปริมาณที่กำหนด
: การใช้สมุนไพรเกินปริมาณที่กำหนด อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้